Tag: การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร
เปิดบทสัมภาษณ์ ศ.ดร.วรเวศม์ สุวรรณระดา คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากหนังสือ ‘ชาญชรา: ก้าวสู่สังคมสูงวัยด้วยความรู้และปัญญา’ ว่าด้วยสังคมสูงวัยในมิติเศรษฐกิจมหภาค ความมั่นคงทางการเงินของผู้คน และสถาบันครอบครัวไทยที่เปลี่ยนแปลงไป
ทุกครั้งที่ได้สนทนากัน คำพูดของคุณโฆสิตที่ผมได้ยินบ่อยจนติดหูจึงเป็นคำว่า “การพัฒนา” “ระยะยาว” “มองไกล” สมกับความเป็นนักพัฒนาชั่วชีวิต และความเป็นเทคโนแครตโดยสามัญสำนึกของท่าน
ประเด็นหนึ่งที่คุณโฆสิตให้ความสำคัญมากในช่วงหลังคือเรื่องการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรกับผลกระทบต่อสังคมเศรษฐกิจไทยในระยะยาว ทั้งในระดับมหภาคคือการเติบโตทางเศรษฐกิจ รวมถึงระดับครัวเรือนและบุคคล
ใครคือผู้สูงวัยยุคใหม่ในโลกที่เปลี่ยนไป? สังคมสูงวัยเป็น ‘ภาระ’ หรือ ‘โอกาส’ ของสังคมเศรษฐกิจไทย? สังคมไทยต้องคิดเรื่องอะไร เพื่อรับมือกับสังคมสูงวัยบ้าง? ทำอย่างไรให้เศรษฐกิจไทยเติบโตต่อเนื่อง คนไทยมีความมั่นคงทางการเงิน และครอบครัวไทยอยู่ดีมีสุข?
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ชวนหาคำตอบจากคลิปความรู้ย่อยง่ายจากงานวิจัยว่าด้วยสังคมสูงวัย “ไม่ได้แก่ แค่สูงวัย” ผลิตโดยทีมงาน The 101%
เพราะสังคมสูงวัยเป็นเรื่องของพวกเราทุกคน
ทำไมคนเจนวายถึงมีลูกช้าและน้อย? งานวิจัย สกว. เรื่อง การส่งเสริมการมีบุตรผ่านการสร้างสมดุลระหว่างการทำงานและการสร้างครอบครัวที่มีคุณภาพ (2559) โดย ผศ.ดร.มนสิการ กาญจนะจิตรา และคณะ มีคำตอบ
ศตวรรษิกชน หรือ “คนร้อยปี” เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดสุขภาพที่ดีของสังคม คนร้อยปีในประเทศไทยมีจำนวนเท่าใด อยู่ในพื้นที่ไหน สุขภาพเป็นเช่นไร
Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม เปิดงานวิจัย “การศึกษาศตวรรษิกชนคนร้อยปีในประเทศไทย” โดย ศ.ดร.ปราโมทย์ ประสาทกุล และคณะ มาช่วยตอบคำตอบข้างต้น