การต่อต้านคอร์รัปชัน

รายงาน: การทำงานที่คลุมเครือของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ

ชวนสำรวจปัญหาการดำเนินงานของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ผ่านงานวิจัย “การประเมินความโปร่งใสทางการคลังของการดำเนินกิจการกึ่งการคลังผ่านสถาบันการเงินเฉพาะกิจเพื่อส่งเสริมความยั่งยืนทางการคลังของประเทศไทย” ของ อธิภัทร มุทิตาเจริญ และ กนต์ธีร์ นุชสุวรรณ (2560) สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

รายงาน: ข้อจำกัดในการสร้างความโปร่งใสทางการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ชวนสำรวจความโปร่งใสในการทำงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผ่านงานวิจัย “การประเมินความโปร่งใสทางการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมความยั่งยืนทางการคลังของประเทศไทย” โดยภาวิน ศิริประภานุกูลและคณะ (2560)

รายงาน: “หลากมิติคอร์รัปชัน หลายประเด็นพฤติโกง” – เก็บตกประสบการณ์จากนักวิจัย

Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม ชวนสำรวจความหลากหลายของความเข้าใจและการแก้คอร์รัปชันผ่านชุมชน 4 แบบ – ชุมชนในชนบท ชุมชนกึ่งเมืองชนบท ชุมชนเมือง และชุมชนของนักต่อต้านคอร์รัปชัน

รายงาน: สาเหตุของความไม่โปร่งใสทางการคลัง: บทเรียนจากต่างประเทศและข้อเสนอแนะสำหรับไทย

Knowledge farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม ชวนสำรวจสาเหตุของความไม่โปร่งใสทางการคลัง บทเรียนการปฏิรูปจากต่างประเทศ และข้อเสนอแนะสำหรับประเทศไทย ผ่านโครงการวิจัยเรื่อง “การประเมินความโปร่งใสทางงบประมาณตามหลักสากล เพื่อส่งเสริมความยั่งยืนทางการคลังของประเทศไทย” โดย ศาสตรา สุดสวาสดิ์และคณะ สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

อินโฟกราฟิก: เปิดงานวิจัยดีเด่น สกว. ตอบโจทย์สำคัญ…ความเหลื่อมล้ำและความเป็นธรรม คอร์รัปชัน ความยั่งยืน และนวัตกรรม

Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม ชวนคุณร่วมพิจารณาเรื่องความเหลื่อมล้ำและความเป็นธรรม คอร์รัปชัน ความยั่งยืน และการสร้างนวัตกรรม ผ่านงานวิจัยดีเด่นของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

ความเป็นธรรมทางสังคม

รายงาน: วิธีคิดของกระบวนการยุติธรรมต่อปัญหาความเหลื่อมล้ำในสังคม

ชวนสำรวจวิธีคิดของกระบวนการยุติธรรมที่มีต่อความเหลื่อมล้ำ ผ่านงานวิจัยเรื่อง “การลดความเหลื่อมล้ำ ผ่านกระบวนการยุติธรรม” โดยไพสิฐ พาณิชย์กุล และคณะ (2560) สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

รายงาน: มาตรการบรรเทาภาระภาษีของรัฐบาลในรอบ 10 ปี – นัยต่อความเหลื่อมล้ำ

Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม ชวนสำรวจมาตรการบรรเทาภาษีของรัฐบาลแต่ละชุดในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา นับแต่พ.ศ. 2551 ถึงปัจจุบัน ผ่านงานวิจัยชุด “แนวทางปฏิรูปภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและวิเคราะห์การกระจายรายได้ของผู้มีเงินได้พึงประเมิน” โดย ศ.ดร.ผาสุก พงษ์ไพจิตรและคณะ (2560) สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

รายงาน: บทสำรวจเชิงนโยบายสำหรับเศรษฐกิจสีน้ำเงิน – การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

Knowledge Farm – ฟาร์มรู้ สู่สังคม ชวนอ่านร่างบทสำรวจเชิงนโยบายสำหรับเศรษฐกิจสีน้ำเงินว่าด้วยเรื่องการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และการพัฒนาชายฝั่ง ที่ถูกนำเสนอในงาน Blue Economy Forum 2017 โดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เป็นองค์กรร่วมในการจัดงานครั้งนี้

สัมภาษณ์: คืบก็ทะเล ศอกก็สินในน้ำ: หยั่งวัดเศรษฐกิจสีน้ำเงิน และ ความมั่นคงทางทะเลนิยามใหม่ กับ โสภารัตน์ จารุสมบัติ

Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม ชวน รศ.ดร.โสภารัตน์ จารุสมบัติ สนทนาถึง ‘โครงการวิจัยประเด็นเชิงยุทธศาสตร์ ผลประโยชน์แห่งชาติและความมั่นคงทางทะเล’ และสิ่งใหม่ๆ ที่ก่อตัวขึ้นในท้องทะเลไทย ซึ่งอาจช่วยให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจบนท้องทะเลเปลี่ยนไปในอนาคต

การหลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลาง

รายงาน: ปฏิรูปตลาดแรงงานไทยเพื่อก้าวข้ามพ้นกับดักรายได้ปานกลาง

Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม ชวนสำรวจต้นตอของความไร้ศักยภาพของแรงงานไทยผ่านโครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาตลาดแรงงานไทยเพื่อยกระดับคุณภาพแรงงานและผลักดันประเทศให้พ้นกับดักรายได้ปานกลาง” สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

รายงาน: อุตสาหกรรมที่ถูกมองข้ามในนโยบายไทยแลนด์ 4.0

Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม พิจารณาความสมเหตุสมผลของการเลือกอุตสาหกรรมเป้าหมายของรัฐบาล และสำรวจอุตสาหกรรมที่ไม่ถูกเลือกแต่มีศักยภาพในการพัฒนาผ่าน “โครงการศึกษาแนวทางการคัดเลือกอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ของไทยเพื่อผลักดันประเทศให้พ้นกับดักรายได้ปานกลาง” เสนอโดยสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

อินโฟกราฟิก: ทำไมไทยยังติดกับดักรายได้ปานกลาง

ทำไมไทยยังติดกับดักรายได้ปานกลาง อินโฟกราฟิกชิ้นนี้มีคำตอบ

คลิปความรู้: งานเสวนาคุยฟาร์มรู้ครั้งที่ 3 ‘เศรษฐกิจไทย: สถานการณ์ปัจจุบัน และ ทางออกสำหรับอนาคต’

ชมคลิปความรู้ฉบับเต็ม จาก Knowledge Farm Talk #3 “เศรษฐกิจไทย: สถานการณ์ปัจจุบันและทางออกสำหรับอนาคต” โดย สมประวิณ มันประเสริฐ พีระ เจริญพร และวีระชาติ กิเลนทอง

รายงาน: ความเป็นไปได้ในการสร้างเมืองอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยี Internet of Things

หนึ่งในหนทางในการยกระดับประเทศให้พ้นจากกับดักรายได้ประเทศปานกลาง คือ การนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาปรับใช้ในการพัฒนาและสร้างเมืองอัจฉริยะหรือที่เรียกกันว่า ‘Smart City’ มาดูว่า ประเทศไทยมีความเป็นไปได้มากน้อยแค่ไหนในการสร้างเมืองอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยี Internet of Things โดยจะพาไปดูกรณีศึกษาการสร้าง Smart City ที่แหลมฉบังและเมืองขอนแก่น

การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร

รายงาน: มาตรการทางการคลังเพื่อส่งเสริมการมีบุตร : บทเรียนจากสวีเดน สิงคโปร์ และญี่ปุ่น

Knowledge farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม ชวนสำรวจมาตรการสนับสนุนการมีบุตรจากตัวอย่างหลายประเทศผ่านบางส่วนของความก้าวหน้าโครงการวิจัยโดย วรเวศม์ สุวรรณระดาและคณะเรื่อง  “การวิเคราะห์บทบาทภาคเอกชนในการส่งเสริมนโยบายสร้างสมดุลระหว่างการทำงาน และชีวิตครอบครัว” สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

สัมภาษณ์: ภูเบศร์ สมุทรจักร “เพราะโครงสร้างประชากรเปลี่ยนไป เราจึงเปลี่ยนแปลง”

การศึกษาเรื่อง “การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร” ไม่ได้เกี่ยวข้องเฉพาะเรื่อง “สังคมสูงวัย” เท่านั้น แต่เกี่ยวพันกับ “คนทุกช่วงวัย” ซึ่งผลกระทบต่อผู้คนในสังคมในทุกมิติของชีวิต Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม ชวน ผศ.ดร.ภูเบศร์ สมุทรจักร อาจารย์ประจำสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล นักวิจัยด้านประชากรศาสตร์ และผู้ประสานชุดโครงการวิจัย “ความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย” สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) คุยเรื่องการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของไทยในมิติที่กว้างขึ้น

รายงาน: บ้านหลังสุดท้าย

บ้านพักคนชรา เนิร์สซิ่งโฮม สถานสงเคราะห์คนชรา ไม่ว่าจะเป็นชื่อใด หรือมีรายละเอียดที่แตกต่างกันขนาดไหน เราต่างมองสถานที่เหล่านี้เป็นปลายทางที่น่าหวั่นกลัว หลายคนถึงกับบอกว่าที่อยากหาสามีและมีลูก ก็เพื่อที่จะไม่เป็นยายแก่ขึ้นคานและถูกจับไปอยู่ในบ้านพักคนชรา Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม จะชวนมาทำความเข้าใจ ‘สถานสงเคราะห์ผู้สูงอายุ’ ให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้นกับรายงาน ‘บ้านหลังสุดท้าย’

คลิปความรู้: คนเจนวาย กับความท้าทายในสังคมยุคใหม่

เมื่อโครงสร้างประชากรของไทยเปลี่ยนไป คนเจนวายเริ่มเข้ามามีบทบาททางสังคมมากขึ้นเรื่อยๆ น่าสนใจว่าคนเจนวายมีความคิดเห็นอย่างไรกับบทบาท ‘การสืบทอดสังคม’ โดยเฉพาะประเด็นเรื่องการมีบุตร Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม จะชวนมาทำความเข้าใจคนเจนวายที่กำลังเผชิญกับความท้าทายในสังคมยุคใหม่ ไปกับ ผศ.ดร. ภูเบศร์​ สมุทรจักร นักวิจัยในโครงการของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

อินโฟกราฟิก: ห้องต้นแบบสำหรับผู้สูงวัย

Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม ขอเสนอห้องต้นแบบที่เหมาะสมกับผู้สูงวัย ซึ่งเป็นผลงานจากงานวิจัย เรื่องมาตรฐานขั้นต่ำสำหรับที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุ (2548) ของ รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ และคณะ สนับสนุนโดยสำนักงานสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สำนักงานกองทุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.)

การปฏิรูประบบเรียนรู้

รายงาน: แปลงทักษะและสมรรถนะให้เป็นคุณวุฒิการศึกษา

Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม ชวนสำรวจแนวทางในการออกแบบระบบการเทียบโอนความรู้จากคุณวุฒิการศึกษาและประสบการณ์ทำงาน ผ่านงานวิจัยของ อภิชัย พันธเสน และคณะ (2560) ในโครงการเรื่อง “การพัฒนาระบบคลังหน่วยกิตเพื่อการเทียบโอนความรู้ ทักษะ ไปสู่การยกระดับฝีมือแรงงานตามมาตรฐาน หรือการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น” สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

คลิปความรู้: กิจกรรมพัฒนาทักษะการสื่อสารความรู้สู่สาธารณะ ครั้งที่ 2 “การสื่อสารความรู้อย่างสร้างสรรค์ : สื่อสารอย่างไรให้โดนใจสังคม”

คลิปกิจกรรมพัฒนาทักษะการสื่อสารความรู้สู่สาธารณะ ครั้งที่ 2 “การสื่อสารความรู้อย่างสร้างสรรค์ : สื่อสารอย่างไรให้โดนใจสังคม” เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 26 เมษายน 2561

รายงาน: สกว. เสนอ สร้างเด็กเก่งคิดวิเคราะห์และมีจิตสาธารณะ ด้วยโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา

ทุกคนมองเห็นปัญหาว่านักเรียนไทยมีความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ต่ำ แล้วทางออกในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและยกระดับการเรียนรู้ของนักเรียนคืออะไร โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ภายใต้การสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) มีคำตอบ

สัมภาษณ์: ปังปอนด์ รักอำนวยกิจ “ต้องปฏิรูประบบการเรียนรู้ พัฒนาเด็กให้คิดวิเคราะห์เป็นและมีจิตสาธารณะ”

Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม ชวน รศ.ดร.ปังปอนด์ รักอำนวยกิจ อาจารย์ประจำวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนักวิจัยเรื่องการปฏิรูปการเรียนรู้ของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) มาเปิดประเด็นและล้วงลึกปัญหาระบบการเรียนรู้ตั้งแต่ระดับนโยบาย ระดับโรงเรียน ตลอดจนระดับห้องเรียน

สัมภาษณ์: สมพงษ์ จิตระดับ “พื้นที่คือคำตอบของการปฏิรูปการศึกษา”

Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม ชวน ศ.ดร.สมพงษ์ จิตระดับ พูดคุยเกี่ยวกับบางส่วนของงานวิจัย“โครงการการสังเคราะห์รูปแบบการจัดการเรียนรู้ชุมชนโดยใช้การวิจัยเป็นฐานเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายการศึกษาจากล่างสู่บน” ซึ่งเป็นงานวิจัยที่ดีที่สุดในบรรดางานวิจัยที่เคยทำทั้งหมด  

ความมั่นคงทางอาหาร

รายงาน: จะรับได้ไหม ถ้าไทยยอมให้เนื้อหมูเร่งเนื้อแดงเข้ามาขายในประเทศ ?

Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม เปิดงานวิจัยของ ผศ.เวณิกา เบ็ญจพงษ์ และคณะ ว่าด้วยความเสี่ยงต่อสุขภาพในการได้รับสารแรคโตพามีนจากการบริโภคเนื้อและเครื่องในสุกร สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) พร้อมชวนตั้งคำถามสำคัญ ไทยควรมีจุดยืนอย่างไรต่อการเปิดเสรีการนำเข้าเนื้อและเครื่องในสุกรจากประเทศที่อนุญาตให้ใช้สารเร่งเนื้อแดงได้อย่างถูกกฎหมาย เราควรจะต่อต้านการนำเข้าหรือผ่อนปรนนโยบายที่มีอยู่ตามแบบประเทศอื่นกันแน่ หากเปิดตลาดเสรีให้มีการนำเข้ามาได้จริง ผู้บริโภคจะได้รับผลกระทบไหมในมุมความปลอดภัยทางอาหารของผู้บริโภค

รายงาน: ผักปลอดภัย? กลไกการควบคุมที่หายไป

ผักนับเป็นอาหารหลักสำคัญอย่างหนึ่งที่มีการบริโภคกันอย่างมากในวงกว้าง ทุกวันนี้กระแสความนิยมบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพช่วยส่งเสริมให้ผู้คนจำนวนมากหันมาบริโภคผักกันมากขึ้น คำถามที่ตามมาก็คือ เราจะแน่ใจได้อย่างไรว่าผักที่เราบริโภคนั้นปลอดภัย ไม่ปนเปื้อนด้วยสารพิษที่ส่งผลร้ายแทนที่จะให้ประโยชน์ต่อสุขภาพอย่างที่คาดหวัง

สัมภาษณ์: คุยเรื่องความมั่นคงทางอาหาร การปฏิรูปภาคเกษตรไทย และประชาธิปไตย กับ ประภาส ปิ่นตบแต่ง

Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม ชวน รศ.ดร.ประภาส ปิ่นตบแต่ง อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นักวิจัยด้านการเมืองภาคประชาชน และนักเคลื่อนไหวทางสังคมด้านสิทธิชุมชนและสิทธิมนุษยชน มานั่งพูดคุยแลกเปลี่ยนว่าด้วยเรื่อง ‘ความมั่นคง’ ที่เกี่ยวพันกับปากท้องของประชาชนทั่วไป และพาไปมองว่าความมั่นคงทางอาหาร การปฏิรูปภาคเกษตรไทย และประชาธิปไตย มีความเชื่อมโยงกันอย่างไร

งานวิจัย: การพัฒนาระบบองค์ความรู้ด้านฐานข้อมูลทรัพยากรอาหารของชุมชนในภาวะเปราะบางเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงอาหาร

ผู้เขียน: เอกรินทร์ พึ่งประชา, เปรมศรี สาระทัศนานันท์, ไพโรจน์ ทองคำ, ไกรลาศ พิมพ์รัตน์, นภาพร ภักดีสาร, ดรุณี โพธิ์ปลัด, ประกาย แถวอุทุม, สมัย ฐานหมั่น
เผยแพร่: กรกฎาคม 2557