รายงานสกว.: ทางเลือกการเรียนรู้ การศึกษาที่เลือกได้สำหรับเด็กนอกระบบ

ชวนอ่านงานวิจัยเกี่ยวกับการนำเอางานหัตถกรรมมาช่วยให้เด็กและเยาวชน ‘นอกระบบ’ ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้หันกลับมามองรากฐานทางวัฒนธรรมของตนเอง รวมถึงสามารถนำสิ่งเหล่านี้ไปใช้ประกอบอาชีพได้โดยไม่ต้องละทิ้งถิ่นฐานบ้านเกิดของตน ในงานวิจัย “ทางเลือกการเรียนรู้ การศึกษาที่เลือกได้สำหรับเด็กนอกระบบ ” โดยจิรศักดิ์ อุดหนุน

รายงาน: หัวใจของ ‘การสอนสะเต็ม’ ไม่ใช่เทคโนโลยี แต่คือวิธีคิดแบบเหตุและผล – รศ.ดร.สุธีระ ประเสริฐสรรพ์

Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม ชวนศึกษาเรื่องการเรียนการสอนแบบสะเต็ม (STEM) รวมถึงหาคำตอบว่าการสอนสะเต็มควรจะเป็นอย่างไร ผ่านทางการบรรยาย “หัวใจของ ‘การสอนสะเต็ม’ ไม่ใช่เทคโนโลยี แต่คือวิธีคิดแบบเหตุและผล” โดย รศ.ดร.สุธีระ ประเสริฐสรรพ์

รายงาน สกว.: วิเคราะห์ธาตุอาหารในดินด้วยเซนเซอร์ทางเคมี

ชวนอ่านการพัฒนาระบบเซนเซอร์ทางเคมีเพื่อวิเคราะห์ธาตุอาหารในดิน ซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาการบริหารจัดการและการพัฒนาผลผลิตทางการเกษตร รวมถึงก่อให้เกิดประโยชน์แก่เกษตรกรรากหญ้าของประเทศไทย ในงานวิจัย “วิเคราะห์ธาตุอาหารในดินด้วยเซนเซอร์ทางเคมี” โดย ศ.ดร.เกตุ กรุดพันธ์ และทีมวิจัย

รายงาน: ความโปร่งใสในกระบวนการขอรับเงินอุดหนุนของรัฐวิสาหกิจ

Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม ชวนสำรวจความโปร่งใสด้านงบประมาณของรัฐวิสาหกิจ ผ่านงานวิจัย “การประเมินความโปร่งใสทางการคลังของรัฐวิสาหกิจที่ไม่ใช่สถาบันการเงินเพื่อส่งเสริมความยั่งยืนทางการคลังของประเทศไทย” ของ ผศ.ดร.ประสพโชค มั่งสวัสดิ์ และ ผศ.ดร.สันติ ชัยศรีสวัสดิ์สุข (2560) สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

รายงาน สกว.: แนะชาวนา เร่งปรับตัวหันปลูกพืชใช้น้ำน้อย รับมือภัยแล้งที่มีแนวโน้มรุนแรงขึ้น

ภาวะภัยแล้งเกิดจากอะไร และเกษตรกรควรจะปรับตัวอย่างไรเพื่อรับมือกับภัยแล้งที่เกิดขึ้น ชวนหาคำตอบในงานวิจัยจากโครงการ “การปรับตัวต่อภาวะภัยแล้งของเกษตรกรทำนาในพื้นที่ชลประทาน พร้อมประเมินโครงการบูรณาการความช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบต่อภัยแล้ง” โดยรองศาสตราจารย์ ดร.มาฆะสิริ เชาวกุล และคณะ

1 2 3 15