รายงาน: สาเหตุของความไม่โปร่งใสทางการคลัง: บทเรียนจากต่างประเทศและข้อเสนอแนะสำหรับไทย

Knowledge farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม ชวนสำรวจสาเหตุของความไม่โปร่งใสทางการคลัง บทเรียนการปฏิรูปจากต่างประเทศ และข้อเสนอแนะสำหรับประเทศไทย ผ่านโครงการวิจัยเรื่อง “การประเมินความโปร่งใสทางงบประมาณตามหลักสากล เพื่อส่งเสริมความยั่งยืนทางการคลังของประเทศไทย” โดย ศาสตรา สุดสวาสดิ์และคณะ สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

รายงาน: ความโปร่งใส VS การตรวจสอบติดตาม – อะไรป้องกันการคอร์รัปชันได้ดีกว่ากัน?

Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม ชวนสำรวจองค์ความรู้ใหม่ที่ช่วยให้การป้องกันการคอร์รัปชันมีประสิทธิภาพมากขึ้น ผ่านงานวิจัยของ บุญวรา สุมะโน เจนพึ่งพร และคณะ (2560) ในโครงการ “การวิจัยเชิงทดลองเพื่อศึกษาปัจจัยที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมทุจริต : ศึกษากรณีการตรวจสอบติดตาม (Monitoring) และความโปร่งใส (Transparency)” สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนุบสนุนการวิจัย (สกว.)

รายงาน: “หลากมิติคอร์รัปชัน หลายประเด็นพฤติโกง” – เก็บตกประสบการณ์จากนักวิจัย

Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม ชวนสำรวจความหลากหลายของความเข้าใจและการแก้คอร์รัปชันผ่านชุมชน 4 แบบ – ชุมชนในชนบท ชุมชนกึ่งเมืองชนบท ชุมชนเมือง และชุมชนของนักต่อต้านคอร์รัปชัน

รายงาน: จากฟองสบู่ ถึง รัฐบาลทหาร คอร์รัปชันไทย เปลี่ยนไปอย่างไรบ้าง

Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม ชวนผู้อ่านทบทวนสถานการณ์คอร์รัปชันไทยในรอบ 30 ปีที่ผ่านมาบางส่วนของงานวิจัยของ เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ และคณะ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทยวิจัย (2560) ในโครงการ “ประมวลองค์ความรู้ด้านการเสริมสร้างธรรมาภิบาลและการลดคอร์รัปชัน” เพื่อถอดบทเรียนและหาแนวทางในการแก้ปัญหาคอร์รัปชันที่พ้นไปจากความขัดแย้งและตัวบุคคล

รายงาน : มองมุมใหม่ ‘ต่อต้านคอร์รัปชัน’ ด้วยความรู้จากงานวิจัย

ที่ผ่านมาสังคมไทยทุ่มทรัพยากรอย่างมหาศาลในการแก้ปัญหาคอร์รัปชัน แต่แล้วปัญหาคอร์รัปชันก็ไม่ได้หมดไป น่าคิดว่าเราแก้ปัญหามาถูกทางแล้วหรือยัง หรือเราต้องตั้งคำถามและมองหาแนวทางใหม่เกี่ยวกับปัญหาคอร์รัปชัน ผศ.ดร.ธานี ชัยวัฒน์ และ ผศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ สองนักวิจัยจากโครงการวิจัยของสกว. จะชวนมาเปิดมุมมองใหม่ในการต่อต้านคอร์รัปชัน พร้อมหาทางออกในการแก้ปัญหาคอร์รัปชัน

1 2