รายงาน: ประเทศไทยกับการขจัดความหิวโหย

Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม ชวนอ่านงานวิจัยของเสถียร ฉันทะ และคณะ (2560) ในโครงการ “สำรวจสถานะของเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบทประเทศไทย และทางเลือก มาตรการทางเศรษฐศาสตร์ สังคม และกฎหมาย: เป้าหมายที่ 2” สนับสนุนโดยสกว. เพื่อทำความเข้าในสถานะและที่ทางของเป้าหมายการพัฒนายั่งยืนเป้าหมายที่ 2 ในประเทศไทย

สัมภาษณ์: ประภาพร ขอไพบูลย์ “ทางออกของประเทศไทยเรื่องความมั่นคงทางอาหารและความปลอดภัยของอาหาร”

เมื่อความมั่นคงทางอาหาร ครอบคลุมหลายประเด็นตั้งแต่การเข้าถึงอาหาร (accessibility) ปริมาณอาหารที่มีอยู่ (availability) ความยั่งยืนของอาหาร (stability) จนถึงการนำอาหารไปใช้ประโยชน์ (utility) น่าสนใจว่าอะไรคือโจทย์สำคัญในเรื่องความมั่นคงทางอาหารของไทย อะไรคือคำตอบที่ได้จากงานวิจัยของ สกว. และก้าวต่อไปของงานวิจัยในประเด็นสำคัญนี้คืออะไร

Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม ชวน รศ.สพญ.ดร.ประภาพร ขอไพบูลย์ ผู้อำนวยการฝ่ายเกษตร สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สนทนาถึงผลงานวิจัยด้านความมั่นคงของอาหารและความปลอดภัยของอาหาร

อินโฟกราฟิก: หลายมิติของความมั่นคงทางอาหาร

เมื่อพูดถึงความมั่นคงทางอาหาร โดยทั่วไปเรามักนึกถึงความมั่นคงในมิติความเพียงพอของปริมาณอาหาร แต่ความจริงแล้วความมั่นคงทางอาหารยังมีมิติอื่นๆ อีก Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม จะชวนมามองความมั่นคงทางอาหารในหลากหลายมิติ ไปดูว่าความมั่นคงทางอาหารประกอบไปด้วยหลักการใดบ้าง

รายงาน: 20 เมนูแจ่ว ของคนไทด่าน กับความมั่นคงทางอาหารของชุมชน

อาจกล่าวได้ว่า “แจ่วดำ” คืออาหารที่ขาดไม่ได้ของคนเมืองเลย ถือเป็นอาหารหลักที่อยู่คู่สำรับของชาวไทด่าน Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม จะชวนมาสำรวจว่าวัฒนธรรมการกินแจ่วมีความเชื่อมโยงอย่างไรกับความมั่นคงทางอาหาร ไปกับงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาระบบองค์ความรู้ด้านฐานข้อมูลทรัพยากรอาหารของชุมชนในภาวะเปราะบางเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงอาหาร (2557) ของ ผศ.เอกรินทร์ พึ่งประชา และคณะ

1 2 3