งานวิจัย: ศึกษามาตรฐานขั้นต่ำสําหรับที่พักอาศัย และสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุ
เขียน: ไตรรัตน์ จารุทัศน์, จิราพร เกศพิชญวัฒนา, ศรัณยา หล่อมณีนพรัตน์, กิตติอร ชาลปติ
เผยแพร่: เมษายน 2548
เขียน: ไตรรัตน์ จารุทัศน์, จิราพร เกศพิชญวัฒนา, ศรัณยา หล่อมณีนพรัตน์, กิตติอร ชาลปติ
เผยแพร่: เมษายน 2548
บ้านพักคนชรา เนิร์สซิ่งโฮม สถานสงเคราะห์คนชรา ไม่ว่าจะเป็นชื่อใด หรือมีรายละเอียดที่แตกต่างกันขนาดไหน เราต่างมองสถานที่เหล่านี้เป็นปลายทางที่น่าหวั่นกลัว หลายคนถึงกับบอกว่าที่อยากหาสามีและมีลูก ก็เพื่อที่จะไม่เป็นยายแก่ขึ้นคานและถูกจับไปอยู่ในบ้านพักคนชรา Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม จะชวนมาทำความเข้าใจ ‘สถานสงเคราะห์ผู้สูงอายุ’ ให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้นกับรายงาน ‘บ้านหลังสุดท้าย’
หลายประเทศมีนโยบายสำหรับผู้สูงวัยเพื่อให้พวกเขามีคุณภาพชีวิตที่ดี แล้วประเทศไทยควรมีนโยบายรับมือกับสังคมสูงวัยอย่างไร ชวนติดตามได้จากคลิป ‘สังคมสูงวัยไทยไปทางไหนดี’
ประชากรที่มีอายุเกิน 100 ปี ขึ้นไป หรือที่เรียกว่า “คนร้อยปี” มักเป็นที่สนใจของสื่อมวลชนและสังคมมาโดยตลอด แต่ความรู้เกี่ยวกับสภาพความเป็นอยู่ของคนร้อยปีของสังคมไทยในภาพรวมยังมีน้อย
Knowledge Farm จะชวนมาทำความเข้าใจ “คนร้อยปี” ให้มากขึ้น ไปดูแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางประชากรของผู้สูงอายุวัยปลาย และลักษณะประชากรศาสตร์คนร้อยปีในประเทศไทย
เมื่อประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ ความท้าทายและโอกาสในหลาย ๆ ด้านกำลังรออยู่ข้างหน้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านเศรษฐกิจ ภาพของเศรษฐกิจใหม่ในยุคสังคมสูงวัยจะเป็นอย่างไร มาฟังความเห็นกับสามนักเศรษฐศาสตร์รุ่นใหม่ รศ.ดร.สมประวิณ มันประเสริฐ ศ.ดร.พิริยะ ผลพิรุฬห์ และ ผศ.ดร.ศุภชัย ศรีสุชาติ