รายงาน: มาตรการทางการคลังเพื่อส่งเสริมการมีบุตร : บทเรียนจากสวีเดน สิงคโปร์ และญี่ปุ่น

Knowledge farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม ชวนสำรวจมาตรการสนับสนุนการมีบุตรจากตัวอย่างหลายประเทศผ่านบางส่วนของความก้าวหน้าโครงการวิจัยโดย วรเวศม์ สุวรรณระดาและคณะเรื่อง  “การวิเคราะห์บทบาทภาคเอกชนในการส่งเสริมนโยบายสร้างสมดุลระหว่างการทำงาน และชีวิตครอบครัว” สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

สัมภาษณ์: จับเข่าคุย วรวรรณ ชาญด้วยวิทย์ “ปรับวิธีคิด ปรับพฤติกรรม ปรับนโยบาย รับสังคมสูงวัย”

Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม คุยกับ วรวรรณ ชาญด้วยวิทย์ แห่งทีดีอาร์ไอ และคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เกี่ยวกับการปรับตัวของสังคมไทยเพื่อรับมือสังคมสูงวัย เราต้องไล่ปรับกันอย่างไร ตั้งแต่ระดับวิธีคิด ทัศนคติ พฤติกรรม ไปจนถึงระดับนโยบายสาธารณะ

สัมภาษณ์: รำลึกถึง ‘โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์’ ด้วยแนวคิดการพัฒนาในยุค ‘เกิดน้อย ตายยาก ย้ายถิ่น’

ทุกครั้งที่ได้สนทนากัน คำพูดของคุณโฆสิตที่ผมได้ยินบ่อยจนติดหูจึงเป็นคำว่า “การพัฒนา” “ระยะยาว” “มองไกล” สมกับความเป็นนักพัฒนาชั่วชีวิต และความเป็นเทคโนแครตโดยสามัญสำนึกของท่าน

ประเด็นหนึ่งที่คุณโฆสิตให้ความสำคัญมากในช่วงหลังคือเรื่องการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรกับผลกระทบต่อสังคมเศรษฐกิจไทยในระยะยาว ทั้งในระดับมหภาคคือการเติบโตทางเศรษฐกิจ รวมถึงระดับครัวเรือนและบุคคล