รายงาน: มาตรการทางการคลังเพื่อส่งเสริมการมีบุตร : บทเรียนจากสวีเดน สิงคโปร์ และญี่ปุ่น

Knowledge farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม ชวนสำรวจมาตรการสนับสนุนการมีบุตรจากตัวอย่างหลายประเทศผ่านบางส่วนของความก้าวหน้าโครงการวิจัยโดย วรเวศม์ สุวรรณระดาและคณะเรื่อง  “การวิเคราะห์บทบาทภาคเอกชนในการส่งเสริมนโยบายสร้างสมดุลระหว่างการทำงาน และชีวิตครอบครัว” สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

สัมภาษณ์: ภูเบศร์ สมุทรจักร “เพราะโครงสร้างประชากรเปลี่ยนไป เราจึงเปลี่ยนแปลง”

การศึกษาเรื่อง “การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร” ไม่ได้เกี่ยวข้องเฉพาะเรื่อง “สังคมสูงวัย” เท่านั้น แต่เกี่ยวพันกับ “คนทุกช่วงวัย” ซึ่งผลกระทบต่อผู้คนในสังคมในทุกมิติของชีวิต Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม ชวน ผศ.ดร.ภูเบศร์ สมุทรจักร อาจารย์ประจำสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล นักวิจัยด้านประชากรศาสตร์ และผู้ประสานชุดโครงการวิจัย “ความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย” สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) คุยเรื่องการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของไทยในมิติที่กว้างขึ้น

คลิปความรู้: คนเจนวาย กับความท้าทายในสังคมยุคใหม่

เมื่อโครงสร้างประชากรของไทยเปลี่ยนไป คนเจนวายเริ่มเข้ามามีบทบาททางสังคมมากขึ้นเรื่อยๆ น่าสนใจว่าคนเจนวายมีความคิดเห็นอย่างไรกับบทบาท ‘การสืบทอดสังคม’ โดยเฉพาะประเด็นเรื่องการมีบุตร Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม จะชวนมาทำความเข้าใจคนเจนวายที่กำลังเผชิญกับความท้าทายในสังคมยุคใหม่ ไปกับ ผศ.ดร. ภูเบศร์​ สมุทรจักร นักวิจัยในโครงการของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

รายงาน: งานวิจัย สกว. ไขปริศนา ทำไมคนเจนวายไม่อยากมีลูก

ทำไมคนเจนวายถึงมีลูกช้าและน้อย? งานวิจัย สกว. เรื่อง การส่งเสริมการมีบุตรผ่านการสร้างสมดุลระหว่างการทำงานและการสร้างครอบครัวที่มีคุณภาพ (2559) โดย ผศ.ดร.มนสิการ กาญจนะจิตรา และคณะ มีคำตอบ

อินโฟกราฟิก: ทำไมคน GenY ไม่อยากมีลูก

ทำไมคนเจนวายถึงมีลูกช้าและน้อย? งานวิจัย สกว. เรื่อง การส่งเสริมการมีบุตรผ่านการสร้างสมดุลระหว่างการทำงานและการสร้างครอบครัวที่มีคุณภาพ (2559) โดย ผศ.ดร.มนสิการ กาญจนะจิตรา และคณะ มีคำตอบ