รายงาน: บทสำรวจงานวิจัยไทยเรื่อง “กับดักรายได้ปานกลาง”
พีระ เจริญพร สำรวจงานวิจัยเกี่ยวกับประเทศไทยกับการหลุดพ้นกับดักรายได้ปานกลาง
พีระ เจริญพร สำรวจงานวิจัยเกี่ยวกับประเทศไทยกับการหลุดพ้นกับดักรายได้ปานกลาง
Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม เปิดงานวิจัยของ ผศ.เวณิกา เบ็ญจพงษ์ และคณะ ว่าด้วยความเสี่ยงต่อสุขภาพในการได้รับสารแรคโตพามีนจากการบริโภคเนื้อและเครื่องในสุกร สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) พร้อมชวนตั้งคำถามสำคัญ ไทยควรมีจุดยืนอย่างไรต่อการเปิดเสรีการนำเข้าเนื้อและเครื่องในสุกรจากประเทศที่อนุญาตให้ใช้สารเร่งเนื้อแดงได้อย่างถูกกฎหมาย เราควรจะต่อต้านการนำเข้าหรือผ่อนปรนนโยบายที่มีอยู่ตามแบบประเทศอื่นกันแน่ หากเปิดตลาดเสรีให้มีการนำเข้ามาได้จริง ผู้บริโภคจะได้รับผลกระทบไหมในมุมความปลอดภัยทางอาหารของผู้บริโภค
เมื่อโจทย์สำคัญประการหนึ่งของไทยคือการหลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลาง (middle income trap) แต่เหมือนว่าเรายังไม่สามารถหลุดออกจากกับดักนี้ได้ซึ่งหนึ่งในสาเหตุสำคัญคือ ความขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถมาสรรค์สร้างนวัตกรรมเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม ชวนมาดูกันว่าอะไรคือปัญหาสำคัญของทุนมนุษย์ของไทย กับรายงาน ‘งานวิจัย สกว. ชี้ทุนมนุษย์ไทยยังไม่มีความพร้อมสร้างเศรษฐกิจฐานนวัตกรรม’
ทุกคนมองเห็นปัญหาว่านักเรียนไทยมีความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ต่ำ แล้วทางออกในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและยกระดับการเรียนรู้ของนักเรียนคืออะไร โครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ภายใต้การสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) มีคำตอบ
เมื่อเดือนธันวาคม 2559 OECD ได้เผยแพร่ผลสอบ PISA ของปี 2558 ปรากฏว่าผลสอบของเด็กนักเรียนไทยไม่ได้มีการพัฒนาขึ้นจากปีก่อนๆ สังคมจึงตั้งคำถามกับความสามารถในการเรียนรู้ของเด็กไทยในเชิงลึกมากขึ้น เหตุใดทำไมเด็กไทยถึงมีระดับการเรียนรู้ที่ต่ำเช่นนี้ Knowledge Farm – ฟาร์มรู้สู่สังคม จะชวนมาติดตามว่าความสามารถของเด็กไทยกำลังมีปัญหาจริงหรือไม่โดยเฉพาะความสามารถในการวิเคราะห์ กับรายงาน ‘จากคะแนน PISA ถึงวิกฤตความสามารถในการคิดวิเคราะห์เด็กไทย’